Deploy Website On Google Cloud

แอฟ-ทกษอร-อาย

อื่นๆตามที่ซื้อไว้ DNSSEC: Off แล้วคลิก Create จะไปหน้า Zone details แล้วตรง Record sets ให้คลิก Add record set แล้วตามด้วย คลิก Add record set ตั้งค่าตามด้านล่าง DNS Name: ไม่ต้องทำอะไร Resource Record Type: เลือก A TTL: 5 TTL Unit: minutes IPv4 Address: ใส่เลข IP 9 หลัก ที่ได้ไว้ตอนแรกนะครับ ตรงที่เราเซ็ตเป็น Static นั่นแหละ กด Create หลังจากนั้นกด Create จะกลับไปหน้า Zone details แล้วกด Add record set อีกครั้งแล้วตั้งค่า DNS Name: เพิ่ม www เข้าไป Resource Record Type: CNAME TTL: 5 TTL Unit: minutes Canonical name: ชื่อ domain ของเราตามด้วย หรือ. อื่นๆ ตามที่ซื้อไว้ กด Create จากนั้นจะกลับสู่หน้า Zone details อีกครั้ง แล้วลองดูตรง type NS จะเห็นประมาณ 4 บรรทัด ตรงนี้แหละที่เราต้องเอา ตรงนี้ไปกรอกใน Domain name provider ที่เราซื้อบริการเอาไว้ (การตั้งค่าขึ้นอยู่แต่ละที่) แต่ถ้าเป็น ก็เอาไปใส่ตรง Nameserver (เนมเซิร์ฟเวอร์) บรรทัดละช่องนะครับ (ถ้ามันมีแค่สองก็กดเพิ่มเอานะ) แล้วบันทึก ตัวอย่างจาก GoDaddy เท่านี้ชื่อเว็บ(Domain name) ที่เราซื้อไว้ เวลาพิมพ์ชื่อเว็บมันก็จะไปที่ Hosting GCP แล้ว เย่!!!

รางวัลสตรีพิการดีเด่น…

ออกตัวไว้ก่อนว่า ผมไม่มีความรู้เรื่อง Coding, Webmaster หรือ database อะไรนะครับ ภาษาที่ใช้อาจผิดไปบ้าง ก็ต้องขออภัยไว้ล่วงหน้าไว้ก่อน อาศัยทำตาม YouTube เอาอ่ะครับ เมื่ออาทิตย์ก่อน เว็บนี้ Hosting ไว้ที่ Google Cloud แต่ตัวที่ setup WordPress เป็น Bitnami บน Apache ซึ่งใช้งานมาได้ปกติหลายเดือน แต่อยู่ดีดีวันนึง Resource ที่ใช้ใน Google Cloud Platform (GPC) f1-micro 1v CPU + 0. 6 Memory นั้นไม่เพียงพอแล้ว ทำให้เว็บร่วง หน้าขาว ไม่โหลดไม่อะไรเลย Restart service หลายรอบก็ไม่กลับมา จนกระทั่งต้องไปขยายขนาด Resource ถึงจะกลับเข้ามาได้ปกติ แต่ก็ใช้ไปได้อีกไม่เท่าไหร่ cpu กับ traffic วิ่งหนักมาก เว็บก็ล่วงอีกที ก็เลยเดาว่าไม่ traffic เข้ามาเยอะ (เพราะเรื่องการเมือง) ก็อาจติด malware นั่นแหละครับ เพราะที่เอากลับมาไม่ได้เลยคือ database ที่น่าจะพังแล้วล่ะ เข้าไปจัดการอะไรไม่ได้เลยแม้กระทั่งใน PHP Myadmin เลยไปหาข้อมูลมา เค้าแนะนำให้ลองใช้ openlitespeed-wordpress แทน Bitnami หลังจากลองติดตั้ง openlitespeed-wordpress บน Google Cloud Platform ได้สักพัก รู้สึกว่ามันเวิร์คแฮะ!

ส่วน UI หลังบ้านก็อาจจะงงๆ หน่อย แต่เป็นตัวเลือกหนึ่งที่ดีเพราะ มี Node อยู่มาเลเซีย สำหรับคนที่ทำเว็บในไทย ส่วน Always Free ก็มีที่ใช้ได้คือ DNS ส่วนอย่างอื่นก็ไม่ค่อยได้ใช้งาน ข้อมูลเพิ่มเติม สรุป แต่ละอันมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไปอยู่ที่แต่ละคนจะเลือกใช้ ผมจะเรียงลำดับจากที่น่าใช้มากที่สุดไปน้อยที่สุดตามลำดับ ส่วนตัวจะเลือกจากการใช้งานที่ยืดหยุ่น สามารถใช้งานง่าย รองรับระบบได้หลากหลาย แล้วที่สำคัญคือฟรี!! Google Cloud Firebase Hosting Microsoft Azure Alibaba Cloud Amazon Digitalocean Github Pages Bitbucket Cloud Huawei cloud

Alibaba Cloud Alibaba Cloud ข้อดีกว่าเจ้าอื่นๆ คือมี Node ที่ มาเลเซียซึ่งใกล้ไทยกว่าเจ้าอื่น (จริงๆก็ไม่ค่อยมีผลหรอกนะ) ข้อเสียคือไม่มี Always free เครื่องที่จะทำเว็บไซต์ ใครใช้ครั้งแรกจะมี $300 ให้ครับสำหรับใช้ 12 เดือน ถ้าจะใช้เรื่อยๆ สามารถใช้เทคนิคเหมือน Google Cloud ได้เลย ~~ ใครชอบพี่จีนก็ลองดูได้เลยครับ สเปกโหดๆทั้งนั้น ข้อมูลเพิ่มเติม 7. Microsoft Azure Microsoft Azure มีเครดิต ให้ $200 แต่ใช้ได้ 30 วัน ส่วน ตัว Free Trial นั้น ใช้ได้ฟรี 12 เดือน ข้อจำกัด VM บน Windows และ Linux เดือนละ 750 ชั่วโมง ส่วน Always Free นั้นมี App service ให้ใช้ จำกัด 10 web/mobile สมัครเสร็จได้แล้ว $200 Backend ของ Azureใครใช้ครั้งแรกก็จะ งงๆ หน่อย แฟนพันธ์แท้ Microsoft ต้องไม่พลาดดด ๕๕ ข้อมูลเพิ่มเติม 8. Digitalocean Digital ocean ส่วนตัวถือว่าใช้งานได้ง่ายมากกว่าทุก Platform ข้อเสียคือ มีเครดิตให้แค่ $100 สำหรับเปิดใช้งานครั้งแรก ส่วนใครอยากได้เพิ่มก็จะมี Affiliate ชวนเพื่อนมาใช้งานก็จะได้ $25 ส่วนคนที่สมัครตามลิ้งก็จะได้ $100 กดผ่านนี้ได้ $100 ครับ ส่วนผมได้ $25 (ขอค่าโฆษณาหน่อย ๕๕) 9. Huawei cloud แนะนำเพิ่มเติม เพิ่งเปิดตัวมา 2019 เน้น Cloud & AI อันนี้น่าจะเป็นจุดแข็งของเขาเลย ตอนนี้มีโปรโมชั่นเยอะมาก ทั้งลดราคาใช้ฟรี 12 เดือน ข้อเสียตอนนี้อยากได้โปรต้องผูกบัตรเครดิตอย่างเดียวครับ บัตรเดบิตไม่ได้(2019) เจ้าหน้าที่สิงค์โปรโทรมาแจ้ง ก็เลยงงว่าทำไมผูกบัตรไม่ได้ซักทีฟระะ.

สวัสดี Google Cloud Run

แนะนำ Cloud server ฟรีแบบใช้ Credit และ Always free ใช้ได้ตลอดกาล แล้วแต่จะเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับ Project ต่างๆ ทั้งนี้ก็จะมีข้อจำกัดต่างๆ ในการใช้บริการฟรีของแต่ละเจ้า ทีนี้ ใครใช้ Hosting แบบบ้านๆอยู่ บอกลาได้เลย~~ Firebase Hosting สำหรับใครที่ทำเว็บ Static เช่น Landing page HTML หรือ พวก Angular ตัวเลือกนี้น่าจะตอบโจทย์ครับ ข้อจำกัดคือ **Transferred ไม่เกิน 10 GB ต่อเดือน Storage 1 GB แค่นี้เหลือใช้เลยครับ ที่สำคัญคือ Deploy ง่ายมากๆ ตัวอย่างการใช้งาน 1 เดือน ใช้ไม่ถึง 10 GB ข้อมูลเพิ่มเติม 2. Github page GitHub Pages เป็นบริการที่ออกแบบมาเพื่อใช้ ส่วนบุคคลหรือระดับองค์กร หรือ ใช้เชื่อมกับ GitHub repository ของตนเองได้ง่ายๆ ข้อจำกัด ที่เก็บข้อมูลสูงสุดที่ 1 GB แบนด์วิดท์สูงสุดที่ 100GB ต่อเดือน builds site ได้ไม่เกิน 10 ครั้ง / ชม. ข้อมูลเพิ่มเติม 3. Bitbucket Cloud ใครใช้ Bitbucket ก็สามารถ Deploy project ได้เลยเหมือน Github pages ส่วนข้อจำกัดค่อนข้างเยอะ Repository 1 GB / 5000 requests ต่อชั่วโมง สำหรับใครที่ใช้เทสหรือทำเว็บ แบบ Static ธรรมดา ไม่น่ามีปัญหา ดูข้อมูลเพิ่มเติม 4.

  1. Vanguard ภาค 2.3
  2. เริ่มวันนี้! การรถไฟฯ ขายตั๋วแค่ 50% ของที่นั่ง ลดเวลาจองล่วงหน้าช่วงโควิด
  3. โหลด clip จาก youtube
  4. 4 king ดูหนังออนไลน์
  5. กฎ ก ค ศ ว่า ด้วย การ สอบสวน พิจารณา
  6. Honda used car พระประแดง
  7. ช่วงเวลาการผสมพันธ์แมวเปอร์เซีย - YouTube
  8. Istudio terminal 21 พัทยา
  9. ปภ.สั่งจับตา 4 จังหวัดใกล้ชิด เหตุปริมาณน้ำยังสูง : PPTVHD36
  10. ราคา virgin active family
  11. รถ มือ สอง แก้ง ค ร้ อ

ก็จบกันไปเเล้วนะครับ สำหรับลองเล่น Cloud Run ของเรา สำหรับตัว Cloud Run เองนะครับ ก็ยังมี feature อื่น ๆ อีก เช่นการเอาไปใช้งานกับ Kubernetes Engine เเต่ในที่นี้จะขอไม่พูดถึงละกันครับ เพราะน่าจะอีกยาวเลย สำหรับ blog ผม เนื้อหาก็อาจจะไม่ค่อยละเอียด เนื่องด้วยตัวเองค่อนข้างจะความรู้น้อย ถ้าต้องการรู้เพิ่มเติม สามารถติดตามงาน Google Cloud Next'19 extended ที่กำลังจะจัดในไทยเร็ว ๆ นี้ นะครับ ผมว่าน่าจะมีการพูดถึงอยู่พอสมควรเลย ทั้งนี้ก็ขอขอบคุณท่านผู้อ่านทุกท่านที่สละเวลาเข้ามานะครับ เนื้อหาไม่ถูกอะไรยังไงสามารถช่วยบอกหรือเตือนกันได้นะครับผม สำหรับวันนี้ สวัสดีครับ:) Reference:

Olympus 35 ราคา led

ลด บวม ประคบ อะไร ขนม คลี น ไมโครเวฟ

Welcome to your new site! You can edit this page by clicking on the Edit link. For more information about customizing your site check out Latest from the Blog แชร์เทคนิคการเตรียมตัวสอบ Google Associate Cloud Engineer สุดเข้มข้น ก่อนจะกล่าวถึงวิธีการเตรียมตัวสอบ สงสัยไหม Associate Cloud Engineer Certification คืออะไร? ขอแนะนำตัวก่อนนะว่าเราเพิ่งเขียน blog จริงจังเป็นครั้งแรก ถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใดเราขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย เข้าเรื่องกันเลย ตอบคำถามข้างบนก่อนเลยนะว่าตามความเห็นเรา Associate Cloud Engineer Certification คือการสอบใบประกาศเพื่อวัดระดับความเข้าใจพื้นฐานของคนที่จะใช้ Google Cloud Platform ในการทำงานเป็น Cloud Engineer ความสำคัญของการสอบ เราคิดว่าเทคโนโลยีคลาวด์มันเปลี่ยนแปลง และพัฒนาตลอดเวลา คนที่ใช้คลาวด์ก็ควรรู้จักการอัพเดตความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ ดังนั้นนี้เลยเป็นสาเหตุว่าเพื่อให้เราตามมันทัน เราควรหมั่นค้นคว้าหาความรู้แล้วไปทดสอบระดับความรู้อยู่เรื่อยๆ Cloud engineer คือทำงานเกี่ยวกับอะไรบ้าง? ตามที่เราเข้าใจ Cloud Engineer คือคนที่มีหน้าที่ช่วย monitor, manage, deploy เว็บไซต์หรือแอพลิเคชั่นบน Cloud Platform ต่างๆ เช่น Google Cloud Platform, Microsoft Azure หรือ AWS // Continue reading "แชร์เทคนิคการเตรียมตัวสอบ Google Associate Cloud Engineer สุดเข้มข้น" October 11, 2020 October 12, 2020 Introduce Yourself (Example Post) This is an example post, originally published as part of Blogging University.

Host WordPress ฟรีๆ บน Google Cloud Platform ด้วย OpenLiteSpeed Webserver | เร็ว แรง ประหยัด ปลอดภัยด้วย SSL&HTTPS - Kengji.co

0. $docker container run -d -p 8080:8080 somkiat/hello_cloud_run:1. 0 $curl localhost:8080/ Hello Google Cloud Run! ขั้นตอนที่ 2 ทำการ submit และสร้าง Docker image ไปไว้ที่ Google Container Registry จากที่ลอง deploy ด้วย Docker image ที่อยู่ใน Docker Hub จะไม่ได้นะ!! $gcloud builds submit --tag [PROJECT-ID]/helloworld ขั้นตอนที่ 3 ทำการ deploy serverless บน Google Cloud Run จากที่ลองสามารถ deploy ได้บาง region เท่านั้น เพราะว่ายังอยู่ในสถานะ beta นั่นเอง จากตัวอย่างผมทำการ deploy ไปยัง region us-central-1 $gcloud components install beta $gcloud components update $gcloud beta run deploy --image [PROJECT-ID]/helloworld --region us-central1 ✓ Deploying new service... Done. ✓ Creating Revision... ✓ Routing traffic... ✓ Setting IAM Policy... Done.

Google cloud Google cloud มีทั้งทดลองใช้ฟรี (ถ้าใช้ไม่เกินโควต้า) และ ใช้ฟรีตลอดกาล ส่วนใครไม่เคยใช้มีบัตรเดบิตหรือเครดิต สมัครครั้งแรก มีให้ฟรี $300 ใช้ได้ปีนึงเลยครับ (ถ้าเครดิตหมดแล้วก็สมัครใหม่ ได้ $300 ฟรีมาอีกแล้วก็ย้ายไปที่ใหม่ ใครใช้กสิกรจะรู้ดีว่าสามารถทำเลขบัตรใหม่มาได้เรื่อยๆ [เลวมากกก ๕๕๕!! ]) ส่วนที่ฟรีๆ ตลอดกาลแบบไม่ใช้เครดิต ผมจะพูดในส่วนของ Compute Engine ครับ จริงๆ มีหลายบริการมากๆ ที่ใช้ฟรีตามโควต้า สำหรับคนใช้ wordpress / laravel หรือเว็บอื่นๆ สามารถใช้ marketplace one click ง้ายง่าย แต่ต้องเลือก instance เป็น f1-micro ส่วนพื้นที่วาง server ต้องเลือกเมืองดังนี้ครับ Oregon: us-west1 Iowa: us-central1 South Carolina: us-east1 ตัวอย่างการติดตั้ง wordpress ส่วนราคาต่อเดือนมันขึ้นมาโชว์เท่ๆ เฉยๆครับ ถ้าเว็บใครค่อนข้างใหญ่อาจจะดูช้าๆ ก็เพราะมันอยู่คนละซีกโลกนะครับ ๕๕๕ อาจจะต้องใช้ CDN เข้ามาช่วย ข้อมูลเพิ่มเติม 5. Amazon Web Services (AWS) Amazon มีหลายบริการให้เลือกใช้ฟรี แต่ไม่ฟรีตลอดกาลนะจ๊ะ (นอกจากจะสร้างหลายๆ Account ๕๕๕) แต่สำหรับการทำเว็บไซต์แล้วจะใช้ได้ฟรี 12 เดือน โดยใช้ EC2 หรือ S3 ดังนี้ 750 ชั่วโมง บน Amazon EC2 virtual server ขนาด 1 vCPU, 1 GB vRAM ระบบปฏิบัติการ Windows Server, Linux, RHEL หรือ SLE พื้นที่จัดเก็บ 5 GB Amazon S3 จำกัด 20, 000 Request (เหมาะสำหรับเว็บ Static) ดูข้อมูลเพิ่มเติม 6.

ผิวโทรม เหนื่อย ขาดน้ำ ดูหมองคล้ำ แห้งกร้าน ทาครีมบำรุงเท่าไหร่ก็ไม่พอ หลายคนคิดว่า สิวเกิดจากความสกปรก จึงพยายามหาวิธีล้างหน้าให้สะอาดหมดจด หลายขั้นตอน ขัดหน้าโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ แต่ลองคิดตามดูสักนิดว่า เราเคยเห็นขอทาน คนยากไร้เป็นสิวกันบ้างหรือไม่...?