กฎหมาย แรงงาน วัน ลา ป่วย

ทา-กรอง-นา-ใช-เอง

ทั่วไป 11 ธ. ค. 2562 เวลา 8:47 น. 24. 2k ฮอตโซเชียล! ลาป่วยไม่ถึง 3 วัน ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์! เพจดังตีความมมาตรา 32 ตามพ. ร. บ. คุ้มครองแรงงานฯ เพจเฟซบุ๊ก กฎหมายแรงงาน ได้โพสต์ภาพพร้อมข้อความว่าด้วยเรื่อง พ. คุ้มครองแรงงานฯ ม.

ลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน ลาคลอด กฎหมายให้สิทธิ์ลากี่วัน | Prosoft ERP

คุณภาพชีวิต-สังคม 22 เม. ย. 2564 เวลา 11:42 น. 22. 2k "กสร. "ชี้แจงประเด็นข้อสงสัยในสื่อสังคมออนไลน์ บริษัทกำหนดเงื่อนไขลาป่วย 1 - 2 วัน ต้องใช้ใบรับรองแพทย์ ย้ำ "ลาป่วยไม่ถึง 3 วัน" ลูกจ้างไม่ต้องแสดงใบรับรองแพทย์ได้ อีกหนึ่งกระแสสังคมออนไลน์ที่ได้สร้างความสับสนให้แก่ "กลุ่มแรงงาน" เมื่อเกิดกรณี หาก "ลาป่วยไม่ถึง 3 วัน" นายจ้างห้ามเรียกใบรับรองแพทย์ และบริษัทกำหนดให้ลูกจ้างที่ลาป่วย 1 หรือ 2 วัน ต้องนำ "ใบรับรองแพทย์" มาแสดงต่อนายจ้าง นายอภิญญา สุจริตตานันท์ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน "กสร. " ชี้แจง ว่า ข้อมูลดังกล่าวบิดเบือนจากความเป็นจริงอาจทำให้เกิดความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องได้ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ. ศ. 2541 มาตรา32 กำหนดให้ลูกจ้างมีสิทธิลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง "ลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทำงาน"ขึ้นไป ตามกม.

รู้จักกฎหมายแรงงาน เรื่องน่ารู้สำหรับคนทำงาน มีประเด็นอะไรที่สำคัญบ้าง มาดูกัน แม้ว่าทุกวันนี้กฎหมายแรงงานจะเป็นข้อมูลสำคัญที่คนทำงานทั้งหลายควรรู้จักและทำความเข้าใจ แต่เชื่อว่ายังมีหลายคนที่ยังไม่ทราบข้อมูลของกฎหมายแรงงานอยู่ดี ดังนั้นวันนี้ กระปุกดอทคอม จึงมีความรู้ดี ๆ เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานมาฝากกัน เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน เรื่องแรกที่หลายคนสงสัยและอยากรู้คงหนีไม่พ้นเรื่องสิทธิประโยชน์ในการได้รับเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด จะได้รับเงินชดเชยดังนี้ - ทำงานต่อเนื่องครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ได้ค่าชดเชยไม่น้อยกว่า 30 วัน - ทำงานครบ 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี ได้เงินชดเชยไม่น้อยกว่า 90 วัน - ทำงานครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 6 ปี ได้เงินชดเชยไม่น้อยกว่า 180 วัน - ทำงานครบ 6 ปี แต่ไม่เกิน 8 ปี ได้เงินชดเชยไม่น้อยกว่า 240 วัน - ทำงานครบ 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี ได้เงินชดเชยไม่น้อยกว่า 300 วัน - ทำงานครบ 20 ปีขึ้นไป ได้เงินชดเชยไม่น้อยกว่า 400 วัน 2. ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง โดยไม่ได้รับเงินชดเชย มีสาเหตุดังนี้ - ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดทางอาญาโดยเจตนาต่อนายจ้าง - จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย - ประมาทเลินเล่อ จนนายจ้างได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง - ฝ่าฝืนกฎข้อบังคับของนายจ้าง โดยได้รับหนังสือเตือนแล้ว หรือหากเป็นกรณีร้ายแรงก็ไม่จำเป็นต้องมีหนังสือเตือน (หนังสือเตือนมีอายุ 1 ปีนับจากวันที่ทำผิด ไม่ใช่วันที่ได้รับ) - หยุดงานติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน โดยไม่มีเหตุอันควร (ไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตาม) - ได้รับโทษหรือได้รับคำพิพากษาให้จำคุก - การจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา หรือสัญญาที่แน่นอน เช่น การเซ็นสัญญาจ้าง 2 ปี เป็นต้น 3.

๓๒) ที่มา: กฎหมายแรงงาน

  1. กฎหมายแรงงาน วันลาป่วย
  2. ฝันเห็นงู คำทำนายแม่น ๆ เลขเด็ดตรง ๆ
  3. บันได ขึ้น ชั้น 2
  4. คำทักทายและการสนทนาภาษาไทใหญ่เบื้องต้น - น้องคำพู เชียงตุง
  5. Oura ring ราคา
  6. ลมพิษ เรื้อรัง สาเหตุ
  7. บอล888 ความยิ่งใหญ่ ระดับเอเชีย กับการ แทงบอลออนไลน์ 2022
  8. รถออกใหม่ ราคาการผ่อนดาวน์ ข้อมูลรถใหม่: ข้อมูลการออกHonda CB650Fตารางผ่อนดาวน์
  9. รู้ยัง? ลาป่วยไม่ถึง 3 วัน ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์!
  10. รับ ออกแบบ ภาพ โฆษณา
  11. สูตร ชีส พาย สัญลักษณ์

Post on 11 มีนาคม 2564 by Area3 ฮิต: 22435 ลูกจ้าง "รายวัน" ลาป่วย หรือลาประเภทอื่นจะได้ค่าจ้างหรือไม่?